ขั้นตอนการใช้กรวยจราจรอย่างถูกวิธี
ความเป็นมาที่ของกรวยจารจร
กรวยจราจร เกิดขึ้นมาจากไอเดียของพนักงานทาสีเครื่องหมายจราจรบนพื้นถนนในปี 1940 ได้คิดทำอุปกรณ์ชนิดหนึ่งมาวาง เพื่อป้องกั้นไม่ให้คนมาเดินย่ำสีเครื่องหมายจราจรที่ยังไม่แห้ง และในปี 1959 จึงได้เป็นที่มาของจุดเริ่มต้นในวางกรวยจราจรรอบ ๆ รถของการไฟฟ้า เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการทำงานของเจ้าหน้าที่และคนเดินถนนในขณะที่กำลังทำงานอยู่นั้นเอง
ความหมายของกรวยจราจร
กรวยจราจร ( traffic cone ) ปกติแล้วเรามักจะเห็นกรวยจราจรได้ในชีวิตประจำวันบนท้องถนนเสมอ เพราะเป็นเครื่องหมายจราจรสีส้มที่สะดุดตา โดยเฉพาะในช่วงเส้นทางที่มีรถติด ตามแยกหรือรวมช่องทางการจราจรให้เพียงพอกับปริมาณรถที่วิ่งอยู่ในขณะนั้น (สีส้ม คือสียอดฮิตที่ใช้ในสากลทั่วโลก ในประเทศไทยสามารถใช้งาน กรวยส้มได้ทั่วไปตั้งแต่งานจราจร ตลอดถึงงานก่อสร้าง ส่วนในต่างประเทศ นอกจากจะมีสีส้มแล้ว ยังนิยมใช้สีเขียวมะนาว ซึ่งเป็นสีที่สว่าง ผสมสาร fluorescent ทำให้สะดุดตาได้ดีในเวลากลางคืนไม่แพ้กับสีส้ม ที่เสียบด้วยกระบองไฟ )
กรวย ( funnel ) เป็นอุปกรณ์ทางจราจรที่มีประโยชน์มากอีกชนิดหนึ่ง ใช้เพื่อเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยในการจราจรแก่ผู้ใช้รถใช้ถนน เพื่อให้ผู้ขับขี่ยานพาหนะลดความเร็วลง หรือเกิดความระมัดระวังในการใช้ถนน
ประโยชน์ของกรวยจราจร
- ใช้แบ่งหรือรวมช่องทางจราจร
- ใช้ตั้งด่านสกัดกั้นเส้นทางของตำรวจ เพื่อบังคับรถให้วิ่งตามทางที่กำหนด
- ใช้ตั้งด่านสกัดกั้นเส้นทางของตำรวจ เพื่อบังคับรถให้วิ่งตามทางที่กำหนด
- ใช้ตั้งเตือนไว้ว่าทางข้างหน้าเป็นเขตก่อสร้าง, ซ่อมแซมถนน หรืออาจจะมีอุบัติเหตุ
- ใช้เตือนให้ระวัง เมื่อมีสิ่งกีดขวางบนท้องถนน
- ใช้ล้อมรอบอาณาเขต เพื่อกำหนดขอบเขตของสิ่งที่ล้อมนั้น
ที่มาข้อมูล : http://www.bloggang.com หมายเลขสมาชิก 3427847
THAIPURCHASING.com !!! มี LINE Official แล้วรู้ยัง
ติดตามกิจกรรมต่างๆของเรา ได้ทุกวันผ่าน LINE ID
เพื่อรับสิทธิพิเศษกิจกรรมต่างๆ ฟรีก่อนใคร คลิกเลย

Comment
New!

สถาปนิก 68 ทบทวนทิศทาง Past Present Perfect

หากท่านอยู่ในอุตสาหกรรมน้ำมันและปิโตรเคมี ไม่ควรพลาดงานนี้ !! งาน Thailand Oil & Gas Roadshow 2024

สถาปนิก’68 ทบทวนทิศทาง Past Present Perfect

แบรนด์ผลิตภัณฑ์ก่อสร้างชั้นนำกว่า 600 บริษัท ตบเท้าร่วมงานสถาปนิก’67 พร้อมโชว์นวัตกรรมสุดล้ำ
Popular

ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน

สินค้าส่งออกสำคัญ 10 อันดับแรกของไทย

การส่งกำลังโดยใช้สายพาน

ประเภทสกรูและน็อต อุตสาหกรรม